กิจกรรมการวาดภาพระบายสี
1. วาดลายเส้นด้วยปากกา
2.การระบายสีไม้
การเขียนภาพด้วยปากกา ( ไม่ร่างด้วยดินสอ )
1.ต้องวางแผนก่อนวาดภาพ โดยการจุด แล้วลากเส้นไปตามจุดที่กำหนดจะได้ภาพใกล้เคียงกับต้นฉบับ
2.การเขียนเส้นเพียงเส้นเดียว
การระบายสี แบ่งออกเป็น
2 ช่วง
1. การวาดภาพลายเส้นด้วยปากกา ( ไม่ต้องร่างด้วยดินสอ
)
ต้องวางแผนการวาดด้วยการจุดกะขนาดแล้วลากเส้นไปตามจุดที่กะไว้
จะทำให้ได้ภาพใกล้เคียงกับต้นฉบับ ถ้าจะให้ภาพสวยงามให้ใช้การลากเส้นเพียงเส้นเดียว
ไม่ต้องลากซ้ำกัน
2. การระบายสี แบ่งสีออกเป็น
2 โทน คือ โทนร้อนและโทนเย็น และแบ่งออกเป็นกลุ่มๆ
คือ
สีโทนร้อน มีดังนี้
-
ชุดที่ 1 ดำ -
น้ำตาล - แดง
- ชุดที่ 2 น้ำตาล - แดง - ส้ม
- ชุดที่ 3 แดง - ส้ม - เหลือง
สีโทนเย็น มีดังนี้
- ชุดที่ 1 ดำ - น้ำเงิน - เขียวแก่
- ชุดที่ 2 เขียวแก่ - เขียวอ่อน - เหลือง
- ชุดที่ 3 น้ำเงิน - เขียวแก่ - เขียวอ่อน
- ชุดที่ 2 น้ำตาล - แดง - ส้ม
- ชุดที่ 3 แดง - ส้ม - เหลือง
สีโทนเย็น มีดังนี้
- ชุดที่ 1 ดำ - น้ำเงิน - เขียวแก่
- ชุดที่ 2 เขียวแก่ - เขียวอ่อน - เหลือง
- ชุดที่ 3 น้ำเงิน - เขียวแก่ - เขียวอ่อน
วัตถุประสงค์
1.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2.ฝึกทักษะการวาดภาพ3.ฝึกสมาธิและความละเอียดต่อผลงาน
ขั้นตอนจริง
1.วาดรูปภาพตามเรื่องด้วยปากกาดำ
2.ระบายสีโดยไล่โทนสีให้สวยงาม
3.เขียนเนื้อเรื่อง พร้อมคติสอนใจไว้หลังกระดาษให้เรียบร้อย
การประเมินผลงานด้วยตนเอง
1.เส้นต่อเนื่อง สื่อความหมายได้ชัดเจน
2.ภาพรวมดูสวยงาม สีกลมกลืนกัน
การนำไปประยุกต์ใช้
1สามารถนำไปประกอบการเรียนการสอนได้ และเป็นการฝึกสมาธิให้กับตนเอง
2.ทำเป็นสื่อการเรียนการสอนสำหรับเด็กเล็ก เพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้
1.ใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์
2.ฝึกทักษะการวาดภาพ3.ฝึกสมาธิและความละเอียดต่อผลงาน
ขั้นตอนจริง
1.วาดรูปภาพตามเรื่องด้วยปากกาดำ
2.ระบายสีโดยไล่โทนสีให้สวยงาม
3.เขียนเนื้อเรื่อง พร้อมคติสอนใจไว้หลังกระดาษให้เรียบร้อย
การประเมินผลงานด้วยตนเอง
1.เส้นต่อเนื่อง สื่อความหมายได้ชัดเจน
2.ภาพรวมดูสวยงาม สีกลมกลืนกัน
การนำไปประยุกต์ใช้
1สามารถนำไปประกอบการเรียนการสอนได้ และเป็นการฝึกสมาธิให้กับตนเอง
2.ทำเป็นสื่อการเรียนการสอนสำหรับเด็กเล็ก เพื่อดึงดูดความสนใจของนักเรียนได้
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น